ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
ประสิทธิภาพของ การสอนแบบโฟนิคส์ ต่อการพัฒนาการอ่านคำพื้นฐานภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ป.4 ที่เรียนภาษ

บทคัดย่อ

ชื่อเรื่อง ประสิทธิภาพของการสอนโฟนิคส์ในการอ่านคำพื้นฐานภาษาอังกฤษของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

คำสำคัญ การสอนแบบโฟนิคส์,การอ่านคำพื้นฐานภาษาอังกฤษ,

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการอ่านคำพื้นฐานภาษาอังกฤษของนักเรียน ก่อนและหลังการเรียนการอ่านแบบโฟนิคส์และเพื่อศึกษาว่าตัวอักษรใดบ้างที่นักเรียนมีปัญหาการในการออกเสียง และกลุ่มประชากรงานวิจัยนี้คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 7 คนที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษเป็นรายวิชาพื้นฐานที่โรงเรียนบ้านผึ้ง รัฐราษฏร์บำรุง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ประเทศไทย นักเรียนทั้งเจ็ดคนกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เครื่องมือการศึกษาครั้งนี้คือแผนการสอนที่ใช้ควบคู่งานวิจัย 7 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนที่เป็นชุดเดียวกันที่รวมคำภาษาอังกฤษพื้นฐานในรูปแบบ พยัญชนะต้น-สระ-ตัวสะกด รวมทั้งหมด 25 คำ และตารางจำแนกตัวอักษรที่นักเรียนออกเสียงผิดและที่นักเรียนไม่ออกเสียงเพื่อศึกษาหาอักษรที่มีปัญหาในการออกเสียงของนักเรียน

จุดประสงค์ในการสร้างงานวิจัยชิ้นเพื่อศึกษาประโยชน์ของการสอนการอ่านคำพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบโฟนิคส์ จากผลการวิจัยที่ได้นั้นแสดงให้เห็นว่าการสอนแบบโฟนิคส์ช่วยพัฒนาการอ่านคำพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นบริบทการเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ และจากการวิจัยทำให้ได้ศึกษาถึงตัวอักษรที่เป็นปัญหาในการออกเสียงของนักเรียน

หลังจากการเรียนการสอนแบบโฟนิคส์ทั้งหมด 7 คาบการสอน นักเรียนมีลการสอบหลังเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนมีทักษะในการอ่านคำพื้นฐาน ถึงแม้ว่าคะแนนที่ได้ค่อนข้างต่ำ โดยนักเรียนสามารถที่จะใช้ความรู้เรื่องเสียงตัวอักษรไปใช้ในการผสมเสียงเพื่ออ่านคำ นักเรียนรู้เสียงตังอักษรในคำอ่านทั้ง 3 ตำแหน่งคือ ต้นคำ กลางคำ และท้ายคำ นักเรียนก็จะผสมเสียงได้และสามารถอ่านคำได้เป็น Kajornboon (2010) กล่าวว่าการสอนแบบโฟนิคส์สามารถพัฒนาทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษของเพราะนักเรียนสามารถแยกแยะเสียงและออกเสียงได้อย่างถูกต้อง ผลการวิจัยนี้สนับสนุนงานของ Chall (1967) อ้างอิงใน Fredrick (2008) ว่าการสอนแบบโฟนิคส์ช่วยให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน รวมทั้งสนับสนุนงานของ Dahl et al. (1999) Kajornboon (2010) Mekwong (2004) Saising (2003) Sinsup (2009) และ Sturt (1999) ที่ได้ศึกษาและสนับสนุนการสอนการอ่านโดยใช้การสอนแบบโฟนิค์ (Phonics Instruction)

ในงานวิจัยนี้ถ้าเราดูผลคะแนนการสอบหลังเรียน ในการสอนแบบโฟนิคส์สามารถช่วยสนับสนุนการอ่านคำพื้นฐานของนักเรียนได้ถึงแม้ผลที่ได้ยังค่อนข้างต่ำอยู่ก็ตาม สาเหตุของค่าคะแนนต่ำที่เป็นไปได้นั้นก็คือ งานวิจัยชิ้นนี้ใช้ระยะเวลาในสอนนักเรียนเสียงตักอักษรค่อนข้างสั้น หรือสั้นเกินไปที่จะทำให้นักเรียนจำทุกเสียงตัวอักษรที่ครูสอนทั้ง 7 คาบได้ Sinsup (2009) ระบุว่าการสอนแบบโฟนิคส์นั้นต้องใช้เวลาสอนที่นานเพียงพอที่นักเรียนจะทำความเข้าใจกันเสียงตักอักษรที่ครูสอนได้อย่างดี Armbruster et al. (2003) ระบุว่าการสอนแบบโฟนิคส์นั้นนักเรียนใช้เวลาประมาณ 2 ปีเพื่อทำความเข้าใจกับเสียงตักอักษรทั้งหมดและการสอนโฟนิคส์นั้นจะเหมาะกับนักเรียนที่เริ่มเรียนปีแรกและต้องเรียนเสร็จในเทอมที่สองของปีที่สองของการเรียน สาเหตุที่สองที่อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้คะแนนต่ำนั่นก็คือสภาพห้องเรียนที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอนและการใช้เครื่องในการสอนที่ไม่ดีพอ การใช่เครื่องมือการสอนที่เอื้อต่อการสอน และบรรยากาศการเรียนการสอนที่ดีแจเป็นแรงจูงในให้นักเรียนเรียนรู้เสียงตักอักษรภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น Tomlinson (1998) แนะนำว่า เพื่อสนับสนุนการสอนแบบโฟนิคส์นั้นสื่อที่ใช้ในการสอนควรมีความหลากหลายทั้งเรื่องหัวข้อการสอนและแบบการสอนและรูปร่างสีสัน สื่อที่ใช้ในงานวิจัยนี้ใช่สื่อที่พิมพ์ขาวดำ และในชั้นเรียนไม่มีคู่มืออื่นที่สนับสนุนการสอนแบบโฟนิคส์เลย Saising, (2003) ระบุว่าการสร้างสื่อการสอนที่ดี และสร้างบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนการสอนจะช่วยให้นักเรียนมีความจำในบทเรียนที่ดียิ่งขึ้น

จากตารางคะแนนเราจะเห็นว่าคะแนนที่นักเรียนทำได้ในสอบก่อนเรียนคือ 0 และนักเรียนไม่สามารถออกเสียงตัวอักษรไดๆได้เลยซึ่งอาจเป็นเพราะนักเรียนนั้นไม่มีความรู้เรื่องเสียงตัวอักษรทำให้ไม่สามารถผสมเสียงและอ่านเป็นคำได้ เพระนักเรียนไม่ได้ถูกสอนเรื่องเสียงตัวอักษร หรือการสอนแบบโฟนิคส์มาก่อน นักเรียนกลุ่มทดลองกลุ่มนี้มีความสามารถสามารถพูดชื่อตัวอักษรภาษาอังกฤษได้ทั้งหมดเพียงเท่านั้นแต่ไม่รู้ว่าแต่ละตัวแทนมีเสียงอะไร ตรงกันข้ามกับผลการสอบหลังเรียน นักเรียนโดยส่วนมากนั้น อย่างน้อยมีความสามารถในการออกเสียงเสียงที่แทนตัวอักษรที่ใช้สอบในคำได้ถึงแม้ว่าว่าจะอ่านคำไม่ได้ทั้งหมดจาก 25 คำ ความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานของนักเรียนนั้นพัฒนาดีขึ้นหลังการสอนแบบโฟนิคส์ และนักเรียนมีความรู้เรื่องเสียงตัวอักษร ในบางคำถึงแม้นักเรียนไม่สามารถอ่านคำได้แต่ยังคงออกเสียงตัวอักษรได้บ้าง

จากผลคะแนนทำให้ทราบว่าตัวอักษรที่แทนเสียงพยัญชนะนั้น นักเรียนมีปัญหาในการออกเสียงมากกว่าเสียงสระ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็อาจจะเป็นผลมาจากที่หนังสือเรียนที่นักเรียนอ่านนั้น นักเรียนประสบตัวอักษรที่แทนเสียงสระน้อยกว่าที่แทนพยัญชนะ เมื่อประสบน้อยกว่าเมื่อเทียบความผิดพลาดเลยเกิดเป็นตัวเลขที่น้อย (5 ต่อ 21) ตัวอักษรที่แทนเสียงสระมีโอกาสถูกเจอได้มากกว่าเช่นกันทุกคำต้องประกอบไปด้วยอย่างน้อย 1 ตัวอักษรที่แทนเสียงสระ ตัวเลขการออกเสียงผิดหรือการไม่ออกเสียงนั้นอาจเกิดจากการนำเสนอของครูเองเช่นกัน เพราะการสอนในแต่ละคาบนั้นตอนยกบัตรตัวอักษรที่ใช้ในการสอนเพื่อให้นักเรียนออกเสียง ครูไม่ได้ตระหนักว่าตัวอักษรตัวหนึ่งๆนั้นถูกยกแสดงกี่ครั้ง บางตัวถูกยกขึ้นแสดงหลายครั้ง บางตัวถูกยกแสดงน้อยครั้ง นักเรียนจะจำตัวอักษรที่ถูกยกขึ้นแสดงหลายครั้งนักเรียนจะจำได้ดีกว่า Tate (1937) ในการสอนเสียงตัวอักษรแบบ Systematic Phonic Instructions ครูควรใช้บัตรตัวอักษรแสดงอย่างต่อเนื่องและมั่นใจว่านักเรียนนั้นเข้าใจเสียงตัวอักษรตัวนั้นได้อย่างดี และ Armbruster et al. (2003) กล่าวว่าการทำซ้ำๆจะทำให้ผู้เรียนประสบและจำได้ดียิ่งขึ้น ถ้าเวลาในการสอนและการเรียนที่ยาวนานเพียงพอ มีคาบการสอนที่มากขึ้น จำนวนครั้งการนำเสนอบัตรอักษรมีความถี่เท่ากัน และนักเรียนเรียนกับสื่อการสอน บรรยากาศในห้องเรียนที่น่าสนใน รวมทั้งส่งเสริมการเรียนรู้การเรียนรู้ของนักเรียนจะมีปริทธิภาพมากขึ้น

ผลการศึกษาที่ได้ในครั้งนี้มีดังนี้คือการเรียนการอ่านแบบโฟนิคส์ช่วยพัฒนาการอ่านคำภาษาอังกฤษพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และศึกษาพบว่านักเรียนมีปัญหาการออกเสียงตัวอักษรกลุ่มที่แทนเสียงพยัญชนะมากกว่าตัวอักษรกลุ่มที่แทนเสียงสระ

ABSTRACT

TITLE : EFFECTIVENESS OF PHONICS INSTRUCTION ON SIMPLE

WORD READING OF THAI ENGLISH AS A FOREIGN

L ANGUAGE FOURTH GRADERS

AUTHOR : MR. CHIRAWAT SRISAWAT

TEACHER OF TEACHING ENGLISH AS A FOREIGN LANGUAGE

ADVISORS : 1. MRS. THEERANUT PHUKSUETRONG

2. MSS. KANOKWAN PANCHOMPOO

3. MISS. LAMYAI SAI-NGON

4. MR. TEERAPAT YAISANG

5. MSS. PATCHARIN ORRATHAI

KEY WORDS : PHONICS INSTRUCTION, SIMPLE ENGLISH WORD

READING, FOURTH GRADERS

The purposes of this study were to compare the results of simple English words reading before and after learning through phonics instruction and to investigate whether there were problematic letters for the learners to pronounce. The participants were seven Thai EFL fourth graders (Pratom Sueksa 4 students) studying Fundamental English Course at Ban Phueng Rat Rat- Bamroong School Sisaket Educational Service Office Area2, Uthumponphisai, Sisaket, Thailand. They were in the first semester of the academic year 2016. The experimental instruments were 7 lesson plans of one-hour learning period each. The data collecting instruments were the comparative pre-test and post-test made up of two word reading lists containing 25 CVC words. The scoring tables were also used to distinguish the problematic letters for the learners to pronounce.

This study had been conducted to search out the benefit of phonics instruction for fourth graders’ simple English word reading. The study found that the phonics instruction appeared to help promote simple English word reading of the EFL 4st graders. It also met the other objective of finding the problematic letters for the learners to pronounce their sounds.

After 7 one-hour periods of phonics instruction, students reached the statistically higher marks of the post-test than on the pre-test. The students seemed to be able to make progress in simple English word reading, although the marks were still quite low. The students could make use of the knowledge taught to blend the combination of the letter sounds into words. When the learners recognized the letter sound of each letter at the three positions of initial consonant, middle short vowel, and final consonant sounds, they could blend the letter sounds into words correctly. Kajornboon (2010) pointed out that phonics instruction can improve students’ pronunciation because the student could segment the sounds and produced them correctly. The finding of the present study supports Chall (1967), cited in Fredrick (2008), who stated that phonics instruction was effective to help children to become skilled readers and this study also agreed with the studies of Dahl et al. (1999), Kajornboon (2010), Mekwong (2004), Saising (2003), Sinsup (2009), Sturt (1999) who conducted the studies of the use of phonics instruction and found that the phonics instruction was effective to support the learning of reading and pronunciation.

In this study, if we look at the scores of the post-test, the instruction had a tendency to be useful as the result is still very low. The following reasons might be the causes of the low study result. Firstly, it could be due to the learning duration and the

number of learning periods. The duration may have been too short for the learners to memorize all the target letter sounds that were presented in the seven one-hour periods of this phonics instruction. Sinsup (2009) suggested that phonics instruction should be taught with the longer learning duration so that the learners can be more familiar with the letter sounds taught. According to Armbruster et al. (2003), when phonics instruction is employed, students need approximately two years to work with the instruction, and if phonics instruction begins early in first grade, the instruction should be completed by the end of second grade. Secondly, the low study result could be due to the learning materials and environment of this study. They were probably not interesting enough to motivate the students’ learning and to support their learning of the letter sounds. Tomlinson (1998) recommended that to support phonics instruction, teaching materials should be varied in style, and mode, and rich in features of the target lesson. The letter and word flashcards used in this present study were printed only in black and white. The classroom had no other material that could support the learning such as the English letter chart or phonics books. Creative materials and learning environment that support the instructions should be used to help the students’ memorization (Saising, 2003).

From the scoring tables, it could be seen that all letter sounds presented in the pre-test lists were unpronounced by all of the participants. The reason for not pronouncing may have been that the students lacked letter sound knowledge, since all of them had never been taught with the phonics instruction previously and had no letter knowledge. They had only the ability to say the names of the letters A-Z when they first involved in this present study. But for the post-test, most of the participants could pronounce at least some letter sounds provided in the word position of initial, middle, and final, even though not all target letter sounds of all 25 items were correctly pronounced. The students’ simple English word reading improved but still not much and many letters were still pronounced incorrectly. For many items, only a sound or two were correctly pronounced.

From the scoring, it was found that consonant letters were more problematic than the vowel letters. This maybe because in English textbooks to which the students were exposed to, vowel letters are much less in number compared to the number of consonant letters (i.e, 5 versus 21). And the vowel letters are seen more frequently as every word needs to have at least a vowel. The different error numbers might have also been caused by the different frequencies of the letter sound presentation that the instructor was not aware of when processing phonics instruction. Each letter of target letter sounds was presented quite unequally during the lessons without checking the students’ understanding. Some letter sounds could have been presented more frequently and some were less. Some students might achieve the presented knowledge, while others might not. The more presented items may be remembered better than the less presented letters. In systematic phonic instructions, teacher should have the flashcards of target letters presented continually until all learners perfectly understand each target letter sounds (Tate, 1937). Repeated exposure can develop students’ memorization (Armbruster et al., 2003). It is believed that if the learning duration and the number of learning period are extended, all letter sounds are equally presented, and the attractive material and learning environment are used and set, learners will have more time to learn the target letter sounds with great motivation to produce better learning outcomes.

The findings of this study were that phonics instruction helps promote simple English word reading of the students and that consonant letters seemed to be more problematic than vowel letters.

โพสต์โดย wat : [4 พ.ย. 2559 เวลา 13:45 น.]
อ่าน [4021] ไอพี : 122.155.43.152
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โพสต์โดย

คุณ -

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 115,686 ครั้ง
ดาวน์โหลดหนังสือ Brain-based Learning (BBL) 7 เล่ม เขียนโดย อ.พรพิไล เลิศวิชา
ดาวน์โหลดหนังสือ Brain-based Learning (BBL) 7 เล่ม เขียนโดย อ.พรพิไล เลิศวิชา

เปิดอ่าน 24,420 ครั้ง
ความผิดปกติที่เกิดจากการนอนส่งผลต่อสุขภาพมากกว่าที่คุณคิด
ความผิดปกติที่เกิดจากการนอนส่งผลต่อสุขภาพมากกว่าที่คุณคิด

เปิดอ่าน 10,229 ครั้ง
ความลับ ทำไมคนญี่ปุ่นถึงอายุยืนที่สุดในโลก
ความลับ ทำไมคนญี่ปุ่นถึงอายุยืนที่สุดในโลก

เปิดอ่าน 13,765 ครั้ง
คู่มือหาความสุข
คู่มือหาความสุข

เปิดอ่าน 33,266 ครั้ง
FOCUS ประเด็นจาก PISA : การศึกษาเวียดนาม: ทำไมนักเรียนจึงมีผลการประเมินสูง
FOCUS ประเด็นจาก PISA : การศึกษาเวียดนาม: ทำไมนักเรียนจึงมีผลการประเมินสูง

เปิดอ่าน 18,254 ครั้ง
เกมส์ต่อสู้
เกมส์ต่อสู้

เปิดอ่าน 9,912 ครั้ง
ทึ่ง! เจ้าหมูซูเปอร์ฮีโร่ช่วยชีวิตลูกแพะตกน้ำ
ทึ่ง! เจ้าหมูซูเปอร์ฮีโร่ช่วยชีวิตลูกแพะตกน้ำ

เปิดอ่าน 17,017 ครั้ง
การออกแบบสาร (Message Design) เพื่อการนำเสนอ
การออกแบบสาร (Message Design) เพื่อการนำเสนอ

เปิดอ่าน 19,957 ครั้ง
จังหวัดไหนมีความสุขมากที่สุดในประเทศไทย ปี 2557?
จังหวัดไหนมีความสุขมากที่สุดในประเทศไทย ปี 2557?

เปิดอ่าน 27,110 ครั้ง
เกมส์ระบายสี
เกมส์ระบายสี

เปิดอ่าน 34,168 ครั้ง
มินาโมโตะ ชิซุกะ : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน
มินาโมโตะ ชิซุกะ : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน

เปิดอ่าน 8,910 ครั้ง
นอนมากเกิน-น้อยเกิน เสี่ยงเบาหวาน
นอนมากเกิน-น้อยเกิน เสี่ยงเบาหวาน

เปิดอ่าน 15,636 ครั้ง
9 ประโยชน์เพื่อสุขภาพของกระเทียม ที่คุณอาจคาดไม่ถึง!
9 ประโยชน์เพื่อสุขภาพของกระเทียม ที่คุณอาจคาดไม่ถึง!

เปิดอ่าน 22,009 ครั้ง
ผวาทั้งเอเชีย ข้าวพลาสติกเมดอินไชน่าระบาด กินแล้วอาจถึงตาย
ผวาทั้งเอเชีย ข้าวพลาสติกเมดอินไชน่าระบาด กินแล้วอาจถึงตาย

เปิดอ่าน 12,679 ครั้ง
คลิปอุกกาบาตตกถล่มเมืองรัสเซีย บาดเจ็บกว่า 400 คน
คลิปอุกกาบาตตกถล่มเมืองรัสเซีย บาดเจ็บกว่า 400 คน

เปิดอ่าน 24,899 ครั้ง
นักฟิสิกส์ไทยสร้างผลงานแห่งประวัติศาสตร์ ค้นพบสูตรคำนวณฟิสิกส์ ที่ได้รับการยอมรับระดับโลก
นักฟิสิกส์ไทยสร้างผลงานแห่งประวัติศาสตร์ ค้นพบสูตรคำนวณฟิสิกส์ ที่ได้รับการยอมรับระดับโลก
เปิดอ่าน 21,173 ครั้ง
เตือน "5 โรคร้าย" อันตรายต่อ "ครู" แนะเทคนิคดูแลสุขภาพ
เตือน "5 โรคร้าย" อันตรายต่อ "ครู" แนะเทคนิคดูแลสุขภาพ
เปิดอ่าน 81,264 ครั้ง
คาถาเรียกทรัพย์ ของหลวงปู่เสือดำ
คาถาเรียกทรัพย์ ของหลวงปู่เสือดำ
เปิดอ่าน 14,821 ครั้ง
ชมดอกทานตะวันบานสะพรั่ง ณ ทุ่งทานตะวัน
ชมดอกทานตะวันบานสะพรั่ง ณ ทุ่งทานตะวัน
เปิดอ่าน 15,324 ครั้ง
5 สิ่งที่ควรทำก่อนจะอายุ 30
5 สิ่งที่ควรทำก่อนจะอายุ 30

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ