ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมทฤษฎีทางการศึกษา  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม


ทฤษฎีทางการศึกษา เปิดอ่าน : 105,948 ครั้ง
ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม

Advertisement

ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญา (Cognitivism)

        ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 นักทฤษฎีการเรียนรู้เริ่มตระหนักว่า การที่จะเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์นั้น จะต้องผ่านการพิจารณา ไตร่ตรอง การคิด (Thinking) เช่นเดียวกับพฤติกรรม และควรเริ่มสร้างแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ในทรรศนะของ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด(Mental change) มากกว่าการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม ดังนั้นจึงมี การเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากความสนใจเกี่ยวกับสิ่งเร้ากับการตอบสนอง

 
กลุ่มพุทธิปัญญา (Cognitivism)

        กลุ่มพุทธิปัญญา ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของผู้เรียน ซึ่งแตกต่างจากทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ที่มุ่งเน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น โดยมิได้สนใจกับกระบวนการคิดหรือกิจกรรมทางสติปัญญาของมนุษย์ (Mental activities)
        ซึ่งเป็นสิ่งที่นักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญาตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องศึกษากระบวนการดังกล่าวเป็นสิ่งที่ไม่สามารถสังเกตได้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พุทธิปัญญา (Cognitive) เป็นการให้ความสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่าง ๆ) กับสิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้-คิด หรือ กระบวนการคิด (Cognitive process) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการคิด (Cognitive process) ได้แก่

กระบวนการคิด (Cognitive Process)
 
 
ความใส่ใจ (Attending)
การรับรู้ (Perception)
การจำได้ (Remembering)
การคิดอย่างมีเหตุผล (Reasoning)
จินตนาการหรือการวาดภาพในใจ (Imagining)
การคาดการณ์ล่วงหน้าหรือการมีแผนการณ์รองรับ(Anticipating)
การตัดสินใจ(Decision)
การแก้ปัญหา (problem solving)
การจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ (Classifying)
การตีความหมาย (Interpreting) ฯลฯ
นักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism)
 

         ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวความรู้ความเข้าใจนี้จำแนกย่อยออกเป็นหลายทฤษฎีเช่นกัน แต่ทฤษฎีซึ่งเป็นที่ยอมรับกันมากในระหว่างนักจิตวิทยาการเรียนรู้ และนำมาประยุกต์ใช้กันมากกับสถานการณ์การเรียนการสอน

ตัวอย่างเช่น


 
  ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Piaget)

ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์ (Bruner)

ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ ออซูเบล (Ausubel)

ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศของคลอสไมเออร์ (Klausmeier)

ทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับความคิดของตัวเอง
( Meta Cognitive )
 


ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

พฤติกรรมมนุษย์ Human Behavior

พฤติกรรมมนุษย์ Human Behavior


เปิดอ่าน 156,872 ครั้ง
เชาวน์อารมณ์ E.Q. (Emotional Quotient)

เชาวน์อารมณ์ E.Q. (Emotional Quotient)


เปิดอ่าน 66,028 ครั้ง
จิตวิทยาการเรียนรู้ภาษา

จิตวิทยาการเรียนรู้ภาษา


เปิดอ่าน 55,298 ครั้ง
รูปแบบจำลอง S M C R Model

รูปแบบจำลอง S M C R Model


เปิดอ่าน 217,335 ครั้ง
ทฤษฎีการเรียนรู้

ทฤษฎีการเรียนรู้


เปิดอ่าน 419,698 ครั้ง
ทฤษฎีการเรียนรู้

ทฤษฎีการเรียนรู้


เปิดอ่าน 54,673 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของแม็คเคลแลนด์

แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของแม็คเคลแลนด์

เปิดอ่าน 86,423 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง
7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง
เปิดอ่าน 19,472 ☕ คลิกอ่านเลย

6 ขั้นตอนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงานและความผูกพันในองค์กร เพื่อรักษาคนเก่งขององค์กร
6 ขั้นตอนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงานและความผูกพันในองค์กร เพื่อรักษาคนเก่งขององค์กร
เปิดอ่าน 41,749 ☕ คลิกอ่านเลย

การจัดการศึกษาในโรงเรียนแบบเชิญชวน
การจัดการศึกษาในโรงเรียนแบบเชิญชวน
เปิดอ่าน 40,224 ☕ คลิกอ่านเลย

ลักษณะบุคคลที่มีความสามารถทางด้านพหุปัญญา
ลักษณะบุคคลที่มีความสามารถทางด้านพหุปัญญา
เปิดอ่าน 35,254 ☕ คลิกอ่านเลย

ทฤษฎีพัฒนาการเชาน์ปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการเชาน์ปัญญาของเพียเจต์
เปิดอ่าน 96,077 ☕ คลิกอ่านเลย

แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของแม็คเคลแลนด์
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของแม็คเคลแลนด์
เปิดอ่าน 86,423 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

ยาตีกันอันตราย
ยาตีกันอันตราย
เปิดอ่าน 12,453 ครั้ง

เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)
เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)
เปิดอ่าน 35,910 ครั้ง

เกาะติดการปิดเปิดเทอม มหาวิทยาลัยไทยตามอาเซียน
เกาะติดการปิดเปิดเทอม มหาวิทยาลัยไทยตามอาเซียน
เปิดอ่าน 7,021 ครั้ง

"จันทรุปราคา"กับ"ทางช้างเผือก" 15มิถุนาฯ-ค่ำคืนมองฟ้าสุดอัศจรรย์
"จันทรุปราคา"กับ"ทางช้างเผือก" 15มิถุนาฯ-ค่ำคืนมองฟ้าสุดอัศจรรย์
เปิดอ่าน 16,976 ครั้ง

5 อภิมหาม้าเหล็ก ทุบสถิติ วิ่งเร็วที่สุดในโลก
5 อภิมหาม้าเหล็ก ทุบสถิติ วิ่งเร็วที่สุดในโลก
เปิดอ่าน 10,839 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ