ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 4) เพื่อประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ขอบเขตการศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัยทั้ง 4 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอน 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีขอบเขตการศึกษา ดังนี้

1. ประชากรในการศึกษาขั้นตอนนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนเทศบาล 1 สุขวิทยากรตั้งตรงจิตร 15 จำนวน 5 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 168 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนเทศบาล 1 สุขวิทยากรตั้งตรงจิตร 15 ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 33 คน ได้มาโดยการสุ่ม แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เนื่องจากโรงเรียนจัดนักเรียนเข้าห้องเรียนแบบคละความสามารถเท่าเทียมกันทุกห้อง สาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ เนื้อหา เรื่อง น้ำและอากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

2. ตัวแปรที่ศึกษา คือ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยตัวแปร 2 ประเภท คือ ตัวแปรต้น ได้แก่ ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือ

ขั้นตอน 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วยรูปแบบการสอน การออกแบบ และการจัดทำรายละเอียดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้า โดยการวิเคราะห์หลักสูตร กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ สาระสำคัญ มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล สื่อและแหล่งเรียนรู้เพื่อนำไปใช้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนเกิดความรู้จากการสะสมประสบการณ์แล้วหลอมรวมให้เป็นรูปร่างโดยนำเอาแนวคิดทฤษฎี Constructivism ของ Driver and Bell รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ มาประยุกต์เป็นรูปแบบการสอนใหม่ซึ่งมีชื่อว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ R-LAEP-C MODEL ซึ่งมี 6 ขั้นตอนได้แก่ 1) ทบทวนความรู้เดิม (Review: R) 2) เพิ่มเติมเนื้อหาใหม่ (Learning: L) 3) ฝึกทักษะ (Action: A) 4) ประเมินค่าผลงาน (Evaluation: E) 5) นำเสนอผลงาน (Presentation: P) และ 6) สรุป (Conclusion: C)

ขั้นตอน 3 การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

1. ประชากรในการศึกษาขั้นตอนนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนเทศบาล 1 สุขวิทยากรตั้งตรงจิตร 15 จำนวน 5 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 168 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนเทศบาล 1 สุขวิทยากรตั้งตรงจิตร 15 ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 33 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เนื่องจากโรงเรียนจัดนักเรียนเข้าห้องเรียนแบบคละความสามารถเท่าเทียมกันทุกห้อง สาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือเนื้อหา เรื่อง น้ำและอากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

2. ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย 1) นวัตกรรม คือ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2) ผลที่เกิดกับผู้เรียน ได้แก่ (1) ความพึงพอใจของนักเรียน และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 3) สถานที่ดำเนินการวิจัยและพัฒนาในโรงเรียนเทศบาล 1 สุขวิทยากรตั้งตรงจิตร 15 และ 4) ระยะเวลาการวิจัย ผู้วิจัยได้กำหนดระยะเวลาในการทดลองสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2558 โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การทดลองใช้เครื่องมือ ดำเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ระยะที่ 2 การศึกษาวิจัยกับกลุ่มตัวอย่าง ดำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

ขั้นตอน 4 การประเมินและปรับปรุงรูปแบบการการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย นวัตกรรม คือ รูปแบบการการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ และผลที่เกิดจากนวัตกรรม คือ ประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้น

สรุปผลการวิจัย

1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่นักเรียนต้องการ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ต้องการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพราะนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง โดยการสำรวจ การสังเกต การทดลองอย่างหลากหลายได้ด้วยตนเอง และครูก็ให้ความสนใจเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด นักเรียนได้เรียนร่วมกลุ่มกับเพื่อน นักเรียนได้เล่นปนเรียน มีกิจกรรมที่สนุกสนานท้าทายมีการแข่งขันอยู่ตลอดเวลา บรรยากาศในการเรียนสนุกสนาน ผู้เรียนมีโอกาสศึกษาด้วยตัวเอง และผู้สอนเป็นผู้แนะนำช่วยเหลือผู้เรียน กิจกรรมการเรียนการสอนมีหลากหลายไม่น่าเบื่อ รูปภาพสื่อความหมายได้ตรงกับเนื้อเรื่อง และมีสีสันสดใสเพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเองเป็นการท้าทายความสามารถของนักเรียน

2. การพัฒนารูปแบบการสอนที่ผู้วิจัยใช้ชื่อเรียกว่า “R-LAEP-C MODEL” มีองค์ประกอบคือ ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอน 6 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ทบทวนความรู้เดิม (Review: R) ขั้นที่ 2 เพิ่มเติมเนื้อหาใหม่(Learning: L) ขั้นที่ 3 ฝึกทักษะ (Action: A) ขั้นที่ 4 ประเมินค่าผลงาน (Evaluation: E) ขั้นที่ 5 นำเสนอผลงาน (Presentation: P) และ ขั้นที่ 6 สรุป (Conclusion: C) ผลจากการตรวจสอบ จากผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ด้านวิทยาศาสตร์และผู้สอนวิทยาศาสตร์ต้องการให้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้อย่างมีความสุข มีการเล่นปนเรียน มีการทำบัตรกิจกรรม ระบายสีภาพ มีเกมการศึกษา ควบคู่กับชุดฝึกทักษะที่มีภาพสีสันสดใส มีการแข่งขันอยู่เสมอ มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายไม่น่าเบื่อพร้อมทั้งให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 แบบรายบุคคล (Individual Tryout) เท่ากับ 75.83/72.22 ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout) เท่ากับ 79.13/77.78 และจากการทดลองภาคสนามประสิทธิภาพของการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเท่ากับ 83.27/82.19 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้

3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 33 คน ได้ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 84.52/83.74 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

4. ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructivism ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก

โพสต์โดย นางอังคณา พงษ์ศิลา : [22 ส.ค. 2561 เวลา 08:16 น.]
อ่าน [4373] ไอพี : 110.77.238.210
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 49,279 ครั้ง
หลักสูตรการสอบภาค ก ครูผู้ช่วย สพฐ. ตามหนังสือ ว14/2558
หลักสูตรการสอบภาค ก ครูผู้ช่วย สพฐ. ตามหนังสือ ว14/2558

เปิดอ่าน 14,568 ครั้ง
วันปิยมหาราช 23 ตุลาคม
วันปิยมหาราช 23 ตุลาคม

เปิดอ่าน 10,875 ครั้ง
ภูมิปัญญา "การแพทย์แผนไทย" สู้ภัยร้อนจัดของประเทศ
ภูมิปัญญา "การแพทย์แผนไทย" สู้ภัยร้อนจัดของประเทศ

เปิดอ่าน 16,091 ครั้ง
การถวายสังฆทานที่ถูกต้อง โดยท่าน "ว.วชิรเมธี"
การถวายสังฆทานที่ถูกต้อง โดยท่าน "ว.วชิรเมธี"

เปิดอ่าน 12,652 ครั้ง
วิธีถ่ายรูปให้ดูดีกว่าตัวจริง
วิธีถ่ายรูปให้ดูดีกว่าตัวจริง

เปิดอ่าน 16,321 ครั้ง
เตือนมีภาพ-คลิปโป๊เด็กต่ำกว่า 18 ปี ในมือถือ ระวังเจอโทษหนัก
เตือนมีภาพ-คลิปโป๊เด็กต่ำกว่า 18 ปี ในมือถือ ระวังเจอโทษหนัก

เปิดอ่าน 12,327 ครั้ง
ดาวน์โหลด! คู่มือการปฏิบัติงานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ดาวน์โหลด! คู่มือการปฏิบัติงานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา

เปิดอ่าน 23,603 ครั้ง
ภาษาเขียนและตัวอักษร
ภาษาเขียนและตัวอักษร

เปิดอ่าน 77,476 ครั้ง
การแรเงา
การแรเงา

เปิดอ่าน 13,020 ครั้ง
เทคนิคใหม่จากสิงคโปร์ทำภาพสีไม่ใช้หมึกคมชัดกว่าเลเซอร์เจ็ท
เทคนิคใหม่จากสิงคโปร์ทำภาพสีไม่ใช้หมึกคมชัดกว่าเลเซอร์เจ็ท

เปิดอ่าน 43,775 ครั้ง
Chat GPT คืออะไร ใช้งานยังไง AI  สำหรับครูยุคใหม่จำเป็นต้องรู้
Chat GPT คืออะไร ใช้งานยังไง AI สำหรับครูยุคใหม่จำเป็นต้องรู้

เปิดอ่าน 30,023 ครั้ง
12 เรื่องน่ารู้ การถ่ายภาพ ด้วยกล้องดิจิตอล
12 เรื่องน่ารู้ การถ่ายภาพ ด้วยกล้องดิจิตอล

เปิดอ่าน 34,398 ครั้ง
xDSL คืออะไร?
xDSL คืออะไร?

เปิดอ่าน 15,341 ครั้ง
ชาวโลกแห่ดูคลิป สิ่งเล็กๆ ในสังคมที่เรียกว่า “น้ำใจ“ ยอดคนดูเกือบ3ล้านครั้งแล้ว
ชาวโลกแห่ดูคลิป สิ่งเล็กๆ ในสังคมที่เรียกว่า “น้ำใจ“ ยอดคนดูเกือบ3ล้านครั้งแล้ว

เปิดอ่าน 12,057 ครั้ง
กูเกิลเจ๋งทดลอง"รถแห่งอนาคต Google Car "วิ่งได้เองบนท้องถนน
กูเกิลเจ๋งทดลอง"รถแห่งอนาคต Google Car "วิ่งได้เองบนท้องถนน

เปิดอ่าน 25,771 ครั้ง
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาสามัญประจำบ้าน
เปิดอ่าน 11,107 ครั้ง
ความลับของชาเขียว
ความลับของชาเขียว
เปิดอ่าน 18,028 ครั้ง
13 เรื่องจริงของสุนัขที่คุณอาจยังไม่เคยรู้
13 เรื่องจริงของสุนัขที่คุณอาจยังไม่เคยรู้
เปิดอ่าน 97,894 ครั้ง
ดูให้รู้ - วิธีการสอนเพื่อพัฒนาสมองทั้งซีกขวาและซ้ายในญี่ปุ่น
ดูให้รู้ - วิธีการสอนเพื่อพัฒนาสมองทั้งซีกขวาและซ้ายในญี่ปุ่น
เปิดอ่าน 100,866 ครั้ง
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ