ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องเจตคติที่ดีในการเรียนวิชาชุมนุมนาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

ความเป็นมาของงานวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนาฏศิลป์ที่ผ่านมาพบว่า นักเรียนหญิงที่มาเรียนชุมนุมนาฏศิลป์มี 3 ลักษณะ คือเรียนเพราะมีใจรักการแสดง เรียนเพราะตามเพื่อน เรียนเพราะเลือกวิชาอื่นไม่ทัน เมื่อนักเรียนได้เรียนได้ฝึกนาฏศิลป์ปัญหาที่พบกับนักเรียนบางคนมีการพัฒนาบ้างเล็กน้อย กับกลุ่มที่มีการพัฒนาแบบต่อเนื่องตามลำดับ แต่การฝึกนาฏศิลป์ควรจะเริ่มฝึกตั้งแต่ยังเล็กๆ และควรเริ่มจากการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เลือกที่จะเรียนตามความพึงพอใจ โดยนักเรียนที่เลือกจากความรู้สึกอยากเรียนอาจจะมีผลสัมฤทธิ์ไปในทางที่ดีขึ้นและพัฒนาตนเองได้มากกว่า ผู้ทำการวิจัยจึงใช้เพลงเซิ้งกระติ๊บ มาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติเพื่อให้เข้าใจถึงความพึงพอใจที่นักเรียนมีกับการเรียนนาฏศิลป์ และเพื่อพัฒนารูปแบบการสอนให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนนาฏศิลป์ โดยสร้างชุดฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์

2. เพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียนกิจกรรมนาฏศิลป์ ก่อนและหลังการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะ

กิจกรรมนาฏศิลป์

3.เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์

สมมติฐานของงานวิจัย

1. นักเรียนมีความสามารถในการทำกิจกรรมนาฏศิลป์ เรื่อง เซิ้งกระติ๊บ และความรู้นาฏศิลป์ไทยพื้นฐาน

2. นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีในการเรียนวิชานาฏศิลป์

3. นักเรียนมีแนวทางเพื่อพัฒนาทักษะ มีสมาธิ ความอดทนและความคิดสร้างสรรค์

วิธีดำเนินการวิจัย

- ครูเปิด VDO CD การแสดงรำเซิ้งกระติ๊บ และสังเกตความสนใจต่อการดูการแสดง

พร้อมเปิดโอกาสให้นักเรียนสมัครเรียนนาฏศิลป์

- ครูให้นักเรียนฝึกปฏิบัติท่ารำไปกับเครื่อง VDO CD ในเพลง รำเซิ้งกระติ๊บ

- ครูให้นักเรียนฝึกปฏิบัติท่ารำร่วมกับเครื่องบันทึกเสียง ในเพลง รำเซิ้งกระติ๊บ

- ครูสอบถามถึงความสนใจในการเลือกสื่อที่จะใช้ประกอบการฝึกการแสดง

- ครูสังเกตการปฏิบัตินาฏศิลป์จากการใช้เครื่อง VDO CD

- ครูสังเกตการปฏิบัตินาฏศิลป์จากการใช้เครื่องบันทึกเสียง

- ครูให้นักเรียนปฏิบัติท่ารำเป็นรายบุคคล แล้วแนะนำสิ่งที่ควรพัฒนาเพื่อนำมาประยุกต์ต่อการประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

- แบบฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์

- แบบสังเกตพฤติกรรม ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2561 - เดือนมีนาคม 2562

ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย

ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2561 – มีนาคม 2562

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยเริ่มตั้งแต่การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตินาฏศิลป์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4-6

การวิเคราะห์ข้อมูล

1. พิจารณาจากการสังเกตถึงความสนใจของนักเรียน เปิดโอกาสและเสริมแรงจูงใจที่ดีให้กับนักเรียน

2. วิเคราะห์จากแบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมนาฏศิลป์ ผลปรากฏว่านักเรียนมีความสนใจต่อการดูตัวอย่างจาก VDO CD เครื่องบันทึกเสียง มากกว่าการฝึกปฏิบัติจากการต่อท่ารำจากครูอย่างเดียว

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

1. การวิเคราะห์การผ่านวัตถุประสงค์รายข้อ ภายหลังการเรียนการสอนตามแผนการสอนปกติ โดยการหาค่าร้อยละ

2. หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์

3. เปรียบเทียบความก้าวหน้าในการเรียน โดยนำผลการทดสอบก่อนและหลังการสอนเสริมโดยใช้ชุดฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์

4. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นที่มีต่อการสอนซ่อมเสริม โดยใช้ชุดฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์

สรุปผลการวิจัย

1. คะแนนภาคปฏิบัติ เรื่อง รำเซิ้งกระติ๊บ และความรู้นาฏศิลป์ไทยพื้นฐาน ก่อนเรียนและหลังเรียน

4. คะแนนภาคปฏิบัติ เรื่อง การปฏิบัติท่ารำเซิ้งกระติ๊บ ก่อนเรียนและหลังเรียน มีความแตกต่าง

3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการสอนเสริม โดยใช้ชุดฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์ ปรากฏดังนี้

3.1 สิ่งที่นักเรียนชอบมากที่สุด คือ เพราะสอน VDO CD เป็นขั้นตอน เห็นภาพเคลื่อนไหว และเข้าใจง่าย ถ้าปฏิบัติตามไม่ทันก็สามารถย้อนภาพกลับไปดูใหม่ได้ นอกจากนี้นักเรียนยังชอบเอกสารประกอบภาพ เพราะมีรูปภาพมาก อ่านแล้วเข้าใจง่าย สามารถปฏิบัติตามได้ รวมทั้งชอบแถบบันทึกเสียง เพราะสอนเป็นขั้นตอน ฟังแล้วเข้าใจ และ สามารถปฏิบัติตามได้

3.2 นักเรียนไม่มีสิ่งที่ไม่ชอบ ในชุดฝึกทักษะ กิจกรรมนาฏศิลป์ จำนวน 6 คน แต่มีจำนวน 1 คนไม่ชอบแถบบันทึกเสียง เพราะมีแต่เสียงไม่มีภาพ และปฏิบัติตามไม่ค่อยได้ และไม่ชอบเอกสารประกอบภาพ เพราะเป็นสิ่งที่ยากสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาในด้านการอ่าน นอกจากนี้รูปภาพในชุดฝึกฯ ที่ถ่ายเอกสาร เป็นสีขาว-ดำ ไม่น่าสนใจ

3.3 ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อการเรียนซ่อมเสริม โดยใช้ชุดฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์ พอสรุปได้คือ นักเรียนส่วนใหญ่ชอบวิธีการเรียนในรูปแบบนี้ เพราะ มีความสุขและเป็นอิสระ มีความมั่นใจในการเรียนมากยิ่งขึ้น เมื่อไม่เข้าใจ ปฏิบัติไม่ได้ หรือไม่ทัน ก็สามารถศึกษาใหม่ได้ โดยไม่ต้องเกรงใจครู จนสามารถเกิดการเรียนรู้และปฏิบัติได้ ไม่รู้สึกเบื่อหน่าย มีความต้องการที่จะเรียนแบบนี้ตลอด อีกทั้งเพื่อน ๆ ที่เรียนร่วมกัน เป็นนักเรียนที่มีความสามารถอยู่ในระดับเดียวกัน มีจำนวนน้อย มีครูเป็นผู้แนะนำ ช่วยเหลือ จึงมีความรู้สึกใกล้ชิดครูผู้สอนมากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะ

1. นักเรียนที่ได้รับการเรียนชุมนุมมีช่วงความสนใจสั้น จึงควรแนะนำให้นักเรียนพัก และผ่อนคลาย ขณะเดียวกันต้องสร้างกำลังใจ ให้การเสริมแรง เพื่อที่จะได้มีกำลังใจในการเรียนรู้ต่อไป

2. นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในการปฏิบัติท่ารำตามผู้สาธิตมากกว่าจะฟังคำบรรยาย การศึกษาจากภาพเพียงอย่างเดียวเป็นสิ่งที่ค่อนข้างยากและดูสับสน ในขั้นตอนนี้ครูผู้สอนควรแนะนำให้นักเรียนฟังเสียงผู้สาธิตและปฏิบัติตาม หรืออ่านคำบรรยาย มากกว่าที่จะดูภาพเพียงอย่างเดียว

โพสต์โดย ครูเจี๊ยน : [15 ก.ย. 2563 เวลา 05:16 น.]
อ่าน [4206] ไอพี : 113.53.154.82
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 25,732 ครั้ง
คุณรู้ไหมว่า 25 มกราคม2556 ! เกิด "กรม"ใหม่เกิดขึ้นในระบบราชการไทย
คุณรู้ไหมว่า 25 มกราคม2556 ! เกิด "กรม"ใหม่เกิดขึ้นในระบบราชการไทย

เปิดอ่าน 11,710 ครั้ง
  อยู่ใกล้ถนนใหญ่ เสี่ยงภัยรูมาทอยด์
อยู่ใกล้ถนนใหญ่ เสี่ยงภัยรูมาทอยด์

เปิดอ่าน 5,097 ครั้ง
ปวดคอ แบบไหนอันตราย
ปวดคอ แบบไหนอันตราย

เปิดอ่าน 82,489 ครั้ง
การจัดรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางอาชีพในหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางอาชีพในหลักสูตรสถานศึกษา

เปิดอ่าน 34,563 ครั้ง
Fast Math Trick จินตคณิต สูตรคิดเร็ว เลขยกกำลัง 2
Fast Math Trick จินตคณิต สูตรคิดเร็ว เลขยกกำลัง 2

เปิดอ่าน 12,072 ครั้ง
ภัยร้ายหน้าร้อน-สาวๆ ไม่อยากหมดสวยต้องอ่าน 6 กลเม็ดสู้ "ผิวไหม้แดด"
ภัยร้ายหน้าร้อน-สาวๆ ไม่อยากหมดสวยต้องอ่าน 6 กลเม็ดสู้ "ผิวไหม้แดด"

เปิดอ่าน 33,651 ครั้ง
ครูอุดรไอเดียแหวกสุดฮา ชวนเต้นยอดวิวเป็นแสน!
ครูอุดรไอเดียแหวกสุดฮา ชวนเต้นยอดวิวเป็นแสน!

เปิดอ่าน 9,918 ครั้ง
ราชภัฏมหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 21
ราชภัฏมหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 21

เปิดอ่าน 14,952 ครั้ง
แชร์ว่อนเน็ต ตำรวจจับมอเตอร์ไซค์ วิ่งเลนขวาผิดหรือ
แชร์ว่อนเน็ต ตำรวจจับมอเตอร์ไซค์ วิ่งเลนขวาผิดหรือ

เปิดอ่าน 10,891 ครั้ง
สีเขียว ช่วยให้คุณครีเอทีฟ
สีเขียว ช่วยให้คุณครีเอทีฟ

เปิดอ่าน 95,725 ครั้ง
แนวคิดการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์
แนวคิดการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์

เปิดอ่าน 24,610 ครั้ง
การ์ตูนเป็ดโดนัลด์ดั๊ก อายุ 75 ปีแล้วนะ
การ์ตูนเป็ดโดนัลด์ดั๊ก อายุ 75 ปีแล้วนะ

เปิดอ่าน 9,414 ครั้ง
Google "ค้นหา" ข้อมูลเก่งขึ้น
Google "ค้นหา" ข้อมูลเก่งขึ้น

เปิดอ่าน 107,728 ครั้ง
หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจัดข้าราชการเข้าพักอาศัยในที่พักของทางราชการ พ.ศ. 2560
หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจัดข้าราชการเข้าพักอาศัยในที่พักของทางราชการ พ.ศ. 2560

เปิดอ่าน 14,083 ครั้ง
6 เหตุผลธรรมดา แต่เป็นเหตุผลหลักที่ทำให้คุณไม่รวยสักที
6 เหตุผลธรรมดา แต่เป็นเหตุผลหลักที่ทำให้คุณไม่รวยสักที

เปิดอ่าน 5,805 ครั้ง
การปลูกกระเทียม
การปลูกกระเทียม
เปิดอ่าน 9,099 ครั้ง
คาดคนอ้วนมี"โดปามีน"น้อย ต้นเหตุไร้ความสุข
คาดคนอ้วนมี"โดปามีน"น้อย ต้นเหตุไร้ความสุข
เปิดอ่าน 38,792 ครั้ง
พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่7) พ.ศ.2554 (ประกาศใช้วันที่ 31/05/2554)
พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่7) พ.ศ.2554 (ประกาศใช้วันที่ 31/05/2554)
เปิดอ่าน 22,891 ครั้ง
ผักแว่น...ผักพื้นบ้านแต่มีคุณค่า
ผักแว่น...ผักพื้นบ้านแต่มีคุณค่า
เปิดอ่าน 15,454 ครั้ง
เทคนิคซ้อนฉากหลังของหนังฮอลลีวูด เจ๋งจริงๆ
เทคนิคซ้อนฉากหลังของหนังฮอลลีวูด เจ๋งจริงๆ

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ