แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
1. ชื่อ BP Learning English for Sustainable Development by STE
(การเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วย STE )
2. ข้อมูลทั่วไปของการพัฒนา
2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางสาววชิรา บุญเกื้อ ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ
2.2 โรงเรียนบ้านลาดใหญ่ อาเภอเมือง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1
3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนาBP
3.1 เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทักษะทางภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่อย่างยั่งยืน
3.2 เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่
3.3 เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่
3.4 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่ตระหนักถึงความสาคัญของการเตรียมความพร้อมก้าว
สู่ประชาคมอาเซียน
4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ถึงปัจจุบัน
5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้น ของ สพท./สพป./สถานศึกษา
การเสริมสรางสมรรถนะและความสามารถในการสื่อสารเปนภาษา อังกฤษของคนไทย จัดเปนความจาเป นเรงดวนของประเทศไทยในปจจุบัน ในสภาวะที่ระดับความสามารถของคนไทยในดานภาษาอังกฤษยังอยู ระดับต่ามาก ขณะที่ ตองเรงพัฒนาประเทศใหกาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกและรองรับภาวะ การคาการ ลงทุน การเชื่อมโยงระหวางประเทศ และการเขา รวมเปนสมาชิก ของประชาคมอาเซียนที่ใชภาษาอังกฤษ เปนภาษากลางหรือภาษาที่ใชใน การทางาน การปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจึงเปนนโยบายสาคัญ ทกี่ ระทรวงศึกษาธิการประสงค์ให้สถานศึกษาเรงดาเนินการใหเกิดผลสาเร็จ ดังนั้นครูผูสอนภาษาอังกฤษและ บุคลากรทางการศึกษาควรพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป นไปใน ทิศทางที่สอดคลองกับนโยบาย มีเปาหมายที่ชัดเจนและบรรลุผลตามเจตนารมณ ของการจัด การศึกษา โดยเนน การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร Communicative Language Teaching (CLT) ตามกรอบอางอิงความสามารถทางภาษาของสหภาพ ยุโรป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) สูการปฏิบัติใหเกิดประโยชนสูงสุด อันจะสงผลตอความสาเร็จในการ พัฒนา สมรรถนะดานภาษาอังกฤษของผูเรียนและความพรอมของประเทศใน การกาวสูประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก อยางมั่นใจตอไป (สถาบันภาษาอังกฤษ. 2558 : 1)
เนื่องดวยกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายเรงปฏิรูปการเรียนรูทั้งระบบใหสัมพันธเชื่อมโยงกัน เพื่อ ยกระดับ คุณภาพการศึกษาและพัฒนาศักยภาพของผูเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางเสริมสมรรถนะ และทักษะ การใชภาษาอังกฤษ ใหผูเรียนสามารถใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและใชเปนเครื่องมือใน การแสวงหา องคความรูเพื่อการพัฒนาตน อันจะนาไปสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศ และการเตรียม ความพรอมรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 เพื่อใหบรรลุเปา หมายดังกลาวโรงเรียนบ้านลาดใหญ่จึงดาเนินการให้สอดคล้องกับแนวทางของ กระทรวงศึกษาธิการจึง กาหนดการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้น เพื่อใหนักเรียนได ตระหนักถึงความจาเปนที่จะตองพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะ และทักษะตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด จึงไดจัดทาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศนี้ เพื่อใหบรรลุเปาหมายดังที่ตั้งไว้
ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษในประเทศไทยยังไม่ประสบความสาเร็จ เท่าที่ควร อันเนื่องมาจากหลากหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยด้านผู้เรียน ปัจจัยด้านผู้สอน ปัจจัยด้านสื่อ
5
การเรียนรู้ ฯลฯ ปัจจัยทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวิชา ภาษาอังกฤษของประเทศอยู่ในระดับต่า ซึ่งตัวบ่งชี้สาคัญที่สามารถบอกได้อย่างชัดเจนก็คือ ผลการสอบ ระดับชาติ(NationTest)และO-Net จะเห็นได้ว่าคะแนนรายวิชาภาษาอังกฤษจัดอยู่ในระดับต่าใน ทุกๆปี ปรากฏการณ์ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าการเรียนรู้ภาษาอังกฤษกาลังประสบปัญหา ซึ่งต้องได้รับการ แก้ไขอย่างเร่งด่วน ด้วยสภาพปัญหาดังกล่าว ปัจจัยหนึ่งที่สามารถช่วยพัฒนาทักษะและเพิ่มพูนความรู้ ทางภาษาให้กับผู้เรียนให้สูงยิ่งขึ้นก็คือ สื่อการเรียนรู้ การพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้มี ประสิทธิภาพนั้น หากมีสื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงและเหมาะสมกับผู้เรียนย่อมสามารถเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดีโดยใช้ ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) , วิธีการสอนแบบ Think Phonics และกิจกรรมภาษาอังกฤษ English Activity เป็น ปัจจัยหนึ่งที่ช่วยพัฒนาทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน นอกจากนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกสถานศึกษาเพื่อฝึกประสบการณ์ทักษะทางภาษายังมีส่วนในการช่วย พัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอีกประการหนึ่ง
โรงเรียนบ้านลาดใหญ่จึงได้นานวัตกรรม และกิจกรรมหลักทั้ง 3 กิจกรรม ได้แก่คือ Smart Classroom, Think Phonics และ English Activity เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนทักษะทางภาษาและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษให้ดียิ่งขึ้น
นอกจากนี้ในปัจจุบัน กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศต้องมีการติดต่อสื่อสาร ระหว่างกันเพื่อความก้าวหน้าทางด้านการเมืองความมั่งคง ด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งด้านสังคมและ วัฒนธรรมอาเซีบนได้ตระหนักถึงความสาคัญของการเตรียมความ พร้อมต่อปรากฏการณ์ ดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงได้จัดทาปฏิบัติที่เป็นเลิศนี้เพื่อเตรียมความพร้อม ในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เนื่องจากเมื่อมีการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้คนในกลุ่มสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศย่อมมีการใช้ภาษาประจาชาติของประเทศต่างๆซึ่งทาให้มีความหลากหลายทางภาษาเกิดขึ้นใน ประชาคมอาเซียน เมื่อมีการใช้ภาษาที่แตกต่างกันปัญหาที่อาจจะตามมาก็คือปัญหาทางด้านการสื่อสาร นั่นหมายความว่าเพราะอาจเกิดการไม่เข้าใจกันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร เนื่องจากสื่อสารกันคนละ ภาษานั่นเอง ดังนั้นภาษาที่จะเป็นตัวกลางสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ในการสื่อสารก็ คือ ภาษาอังกฤษ หากผู้ส่งสารและผู้รับสารใช้ภาษาเดียวกันในการสื่อสารแล้วย่อมเกิดความเข้าใจตรงกัน และส่งผลให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
6.
ฉะนั้น โรงเรียนบ้านลาดใหญ่ ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้แนวปฏิบัติการที่เป็นเลิศ (Best Practice) นี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคตและเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างยั่งยืนต่อไป
แนวคิด หลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP
6
การสอนตามแนวสื่อสาร (Communicative Language Teaching CLT นอกจากการสอนเพื่อการ สื่อสารแล้วยังมีวิธีการสอนภาษาอังกฤษอีกมากมายที่สามารถพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของผู้เรียนได้เป็น อย่างดี ปัจจุบันมีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษหลายแนวคิด แต่ละแนวคิดช่วยสร้างความคิดที่ เป็นระบบให้แก่ครูผู้สอน ช่วยให้ทราบการวิเคราะห์ สังเคราะห์หรือกรอบในการพัฒนามโนทัศน์เกี่ยวกับการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษ แนวคิดเหล่านี้ช่วยครูผู้สอนตัดสินใจวางแผนการจัดการเรียนการสอน การเลือก กิจกรรมประกอบการเรียนการสอน การเลือกสื่อการเรียนรู้ควรเลือกให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนและ สถานศึกษา
สรุปได้ว่าได้ว่า กิจกรรมที่ครูผู้สอนใช้จะต้องเป็นกิจกรรมที่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์กันเพื่อให้ผู้เรียนได้มี โอกาสใช้ภาษาในการสื่อสาร กาหนดวัตถุประสงค์ในการพูด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายได้ อย่างมีเป้าหมาย ดังนั้นกิจกรรมการฝึกทักษะการพูดเพื่อการสื่อสาร มีประโยชน์ต่อผู้เรียนเป็นอย่างยิ่ง ผู้เรียน สามารถนาเอากิจกรรมจากการพูด ทักษะการพูดเพื่อการสื่อสาร นาไปใช้กับเหตุการณ์จริงได้
ดังงานวิจัยที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษของผู้เรียนโดยการใช้กิจกรรมทาง ภาษาเพื่อการสื่อสารดังนี้
ธุวพร ตันตระกลู (2557: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน โดยใช้บทฝึกการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อศึกษาผลการใช้แบบฝึกบทสนทนาภาษาอังกฤษของนักศึกษาที่ ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยศรีประทุม ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยภาพรวมมีความสามารถในการพูด ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารก่อนการทดลองอยู่ในเกณฑ์ดี ที่ระดับค่าเฉลี่ย 3.86 โดยพบว่านักศึกษาที่มี ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอยู่มนระดับดี ร้อยละ 13.3 หลังการทดลองพบว่านักศึกษา สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดีมากร้อยละ 93.3
7. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้
- ประชากรที่ใช้ในปฏิบัติการที่เป็นเลิศครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1- ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านลาดใหญ่ จานวน 373 คน
ขั้นตอนการดาเนินงาน
- การสร้างและทดลองใช้เครื่องมือ - การดาเนินกิจกรรม
- ประเมินผลการดาเนินการ
7
+
1
2
Smart Classroom หมายถึง ห้องเรียนอัจฉริยะที่ใช้สาหรับจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษมุ่งเน้น ให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน และทักษะ การเขียน
Think Phonics หมายถึง วิธีการสอนแบบการฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษตามหลักสัทศาสตร์ที่ถูกต้อง ซึ่ง ต้องออกเสียงจากฐานกรณ์ (อวัยวะที่ใช้ออกเสียง) ให้ถูกต้องจึงจะออกเสียงได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง ซึ่ง เป็นการฝึกทักษะทางการพูดให้แก่ผู้เรียน
English Activity หมายถึง กิจกรรมการเรียนการรู้จากประสบการณ์จริงด้านภาษาอังกฤษโดยใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร เมื่อนักเรียนมีความรู้ทางภาษาจากการใช้ห้องเรียนอัจฉริยะและวิธีการสอนแบบการฝึก ออกเสียงภาษาอังกฤษตามหลักสัทศาสตร์ แล้วสามารถร่วมกิจกรรมภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ภาษาอังกฤษอย่างมีความสุข
Listening หมายถึง กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีทักษะการฟัง โดยฟังจากครู สื่อการเรียนรู้ในห้องเรียน อัจฉริยะ วิธีการสอนแบบการฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษตามหลักสัทศาสตร์ และกิจกรรมภาษาอังกฤษ
Speaking หมายถึง กิจกรรมพัฒนาทักษะการพูดของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถสนทนาโต้ตอบ กับครูผู้สอนในห้องเรียนอัจฉริยะและจากการเข้าร่วมกิจกรรมภาษาอังกฤษ ซึ่งสามารถออกเสียงได้อย่างถูกต้อง ตามหลักการออกเสียงแบบ Think Phonics
Reading หมายถึง กิจกรรมที่มุ่งให้นักเรียนมีทักษะในการอ่านข้อมูล เรื่องราวจากเอกสารประกอบการ เรียน และคาถามจากแบบฝึกหัดการทากิจกรรมภาษาอังกฤษได้
Writing หมายถึง กิจกรรมที่ฝึกทักษะการเขียนให้แก่นักเรียนโดยให้นักเรียนเขียนบรรยายข้อมูล เรื่องราวจากสิ่งที่ได้จากการฟงั และเขียนคาตอบจากแบบฝึกหัดการทากิจกรรมภาษาอังกฤษ
8. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ
- นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่มีความรู้ความสามารถด้านทักษะภาษาอังกฤษซึ่งนาไปใช้ใน
ชีวิตประวันได้
- นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษที่สูงขึ้น
- นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่มีเจตคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ
- นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่ตระหนักถึงความสาคัญของเป็นหนึ่งในประชาคมอาเซียน
9. ปัจจัยความสาเร็จ
9.1 การดาเนินการตามนโยบายและยุทธศาสตร์โรงเรียนในฝันที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ
ด้วยตนเองและสามารถคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอ
9.2 การดาเนินการตามความต้องการของนักเรียนโรงเรียนบ้านลาดใหญ่ที่ต้องการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษโรงเรียนมีห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน อย่างเพียงพอและครบครัน
9.3 การได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเป็นอย่างดีในการดาเนินกิจกรรมได้แก่คณะครูนักเรียน คณะกรรมกาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน ในการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษ
10. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) จากการปฏิบัติการที่เป็นเลิศนี้ชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างยั่งยืนสามารถ
ทาให้ประสบความสาเร็จได้หากได้รับความร่วมมือจาก ครู นักเรียน ปกครอง ชุมชม องค์กรทั้งภาครัฐ
และเอกชน ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาร่วมกับสถานศึกษา
11. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ
- ได้รับคัดเลือกจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ให้นาเสนอการ ประกวดผลงานทรงคุณค่า สพฐ. (Obec Awards) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอนยอด เยี่ยม รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 67 และรางวัลเหรียญทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นาเสนอระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 23-24 มกราคม 2561 ณ จังหวัดขอนแก่น