ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประ

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาลวัดเสาธงทอง

เทศบาลนครนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช

ผู้วิจัย นางชิดารัณย์ จิตสำรวย ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรียนเทศบาลวัดเสาธงทอง เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

จังหวัดนครศรีธรรมราช

ปีที่วิจัย พ.ศ. 2561

บทคัดย่อ

การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เป็นรูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อนำไปใช้ในการส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนเทศบาลวัดเสาธงทอง เทศบาลนครนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 4) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (4.1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและดัชนีประสิทธิผลของการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (4.2) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (4.3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาลวัดเสาธงทอง เทศบาลนครนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) คู่มือครูสำหรับใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (2) แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 18 แผน (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัย ชนิด 3 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ (4) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ จำนวน 25 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาการหาค่าเฉลี่ย ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ร้อยละและทดสอบสมมติฐานโดยใช้ (t - test)

ผลการวิจัยพบว่า

1. การสังเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาที่พัฒนาขึ้นดังนี้

1.1 รูปแบบการเรียนการสอนประกอบด้วย 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) กระบวนการเรียนการสอน 4) การวัดและประเมินผล

1.2 การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานประกอบด้วยการเรียนการสอนแบบเผชิญหน้า (Face-to-Face) และการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online Learning)

1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ประกอบด้วย 6 ขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดปัญหา

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นทำความเข้าใจปัญหา

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นดำเนินการศึกษาค้นคว้า

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นสังเคราะห์ความรู้

ขั้นตอนที่ 5 ขั้นสรุปและประเมินค่าของคำตอบ

ขั้นตอนที่ 6 ขั้นนำเสนอและประเมินผล

1.4 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 1. ทักษะการแก้ปัญหา 2. ทักษะการให้เหตุผล 3. ทักษะการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ 4. ทักษะการเชื่อมโยงความรู้ 5. ความคิดสร้างสรรค์

2. ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่านได้ประเมินและรับรองคุณภาพแล้ว พบว่า ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งหมดของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่า มีความเหมาะสมในระดับมาก

3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 84.44/83.63 ดัชนีประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ .6557 แสดงว่านักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ 65.57และผู้เรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05

4. ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

4.1 รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 84.98/83.96

4.2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ .6658 แสดงว่านักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ 66.58

4.3 ผู้เรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

4.4 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดความยาว ความสูง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับมาก

โพสต์โดย โย่ง : [5 มิ.ย. 2563 เวลา 08:16 น.]
อ่าน [3351] ไอพี : 1.47.236.223
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 14,200 ครั้ง
กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดวาง ตำแหน่งของเตียง
กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดวาง ตำแหน่งของเตียง

เปิดอ่าน 9,775 ครั้ง
เตือนภัยพลาสติกบรรจุอาหารต้นตอโรคเบาหวาน หัวใจ ตับ
เตือนภัยพลาสติกบรรจุอาหารต้นตอโรคเบาหวาน หัวใจ ตับ

เปิดอ่าน 19,517 ครั้ง
เรียนรู้จากนิราศ
เรียนรู้จากนิราศ

เปิดอ่าน 7,908 ครั้ง
ทดสอบความทนทาน"ไอโฟน 5" พัง-ไม่พัง แตก-ไม่แตก
ทดสอบความทนทาน"ไอโฟน 5" พัง-ไม่พัง แตก-ไม่แตก

เปิดอ่าน 11,996 ครั้ง
ฝึกอ่าน ภาษาอังกฤษ จาก VOA !! ฝึกให้เก่งไปเลย
ฝึกอ่าน ภาษาอังกฤษ จาก VOA !! ฝึกให้เก่งไปเลย

เปิดอ่าน 13,621 ครั้ง
มาดามคูรี : เคมี
มาดามคูรี : เคมี

เปิดอ่าน 20,186 ครั้ง
8 วิธีปรับโฉม "โรงเรียน" ใหม่ จัดอย่างไรให้เด็กเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
8 วิธีปรับโฉม "โรงเรียน" ใหม่ จัดอย่างไรให้เด็กเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

เปิดอ่าน 35,149 ครั้ง
ว1/2559 การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้มีผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ฯ
ว1/2559 การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้มีผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ฯ

เปิดอ่าน 12,130 ครั้ง
ถั่งเช่า ยาอายุวัฒนะ
ถั่งเช่า ยาอายุวัฒนะ

เปิดอ่าน 37,113 ครั้ง
การประเมินวิทยฐานะช่วงเปลี่ยนผ่านจากเกณฑ์เก่าสู่ระบบ PA (ศึกษานิเทศก์)
การประเมินวิทยฐานะช่วงเปลี่ยนผ่านจากเกณฑ์เก่าสู่ระบบ PA (ศึกษานิเทศก์)

เปิดอ่าน 9,602 ครั้ง
สดร.ชี้ข่าวโลกมืดสนิท 6 วันเพราะฝุ่น-ขยะอวกาศบดบังไม่จริง
สดร.ชี้ข่าวโลกมืดสนิท 6 วันเพราะฝุ่น-ขยะอวกาศบดบังไม่จริง

เปิดอ่าน 11,047 ครั้ง
ใส่ 8 ข้อ เขียนจดหมายสมัครงานให้สะดุดตา สะดุดใจ
ใส่ 8 ข้อ เขียนจดหมายสมัครงานให้สะดุดตา สะดุดใจ

เปิดอ่าน 25,091 ครั้ง
ศาลปกครองคืออะไร
ศาลปกครองคืออะไร

เปิดอ่าน 15,197 ครั้ง
เหตุใดคนญี่ปุ่นจึงมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการสูง นี่อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของคำตอบนี้..
เหตุใดคนญี่ปุ่นจึงมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการสูง นี่อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของคำตอบนี้..

เปิดอ่าน 10,670 ครั้ง
A Systems Approach for Developing Technological Literacy
A Systems Approach for Developing Technological Literacy

เปิดอ่าน 12,271 ครั้ง
"นอสตราดามุสหญิง" เมืองไทย
"นอสตราดามุสหญิง" เมืองไทย
เปิดอ่าน 15,694 ครั้ง
สุขภาพปากและฟันกับโรคหัวใจ
สุขภาพปากและฟันกับโรคหัวใจ
เปิดอ่าน 32,412 ครั้ง
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือบน E-Learning
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือบน E-Learning
เปิดอ่าน 17,368 ครั้ง
การส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่ส่งในย่าน UHF
การส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่ส่งในย่าน UHF
เปิดอ่าน 13,005 ครั้ง
ชมย้อนหลังวอลเล่ย์บอลสาวไทยชนะญี่ปุ่น 3-1เซตเมื่อ 16ก.ย.56
ชมย้อนหลังวอลเล่ย์บอลสาวไทยชนะญี่ปุ่น 3-1เซตเมื่อ 16ก.ย.56

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ