ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ รายงานการวิจัยพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถ

ชื่อวิจัย รายงานการวิจัยพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถ

ในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) โดยใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ

หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ผู้วิจัย นางมยุรา สืบเพ็ง

ปีที่วิจัย ปีการศึกษา 2558

บทคัดย่อ

รายงานการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 2) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านทิพย์เนตร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 3) เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) โดยใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง

โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) โดยใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4) เพื่อสอบถามความ

พึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) โดยใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Design) ใช้กลุ่มทดลองแบบ

กลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One Group Pretest - Posttest Design) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านทิพย์เนตร

อำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ที่กำลังศึกษา

อยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 5 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) รูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์

เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) 2) คู่มือการใช้รูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) 3) แบบวิเคราะห์เอกสาร จำนวน 2 ฉบับ 4) แบบสอบถามครูผู้สอนคณิตศาสตร์ 5) แผนการจัดการเรียนรู้ 6) ชุดกิจกรรม

เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

7) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดขั้นสูง ด้านการคิดวิเคราะห์และด้านการคิดแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ จำนวน 2 ฉบับ 8) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) จำนวน 10 ข้อ

ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์โดยวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าร้อยละ (P) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าเฉลี่ย t – test ( t – test Dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ผลการวิจัยพบว่า

1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาของการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านทิพย์เนตร พบว่า สภาพปัญหาของการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.93 , S.D. = 0.77) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยสูงสุด 3 อันดับแรก การสอนของครูส่วนใหญ่ ยังสอนแบบบรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง จัดกิจกรรมซ้ำๆ น่าเบื่อ ไม่มีความหลากหลาย ไม่มีแรงจูงใจและ

ขาดความตระหนักในคุณค่าของกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนแก้ปัญหา ค่าเฉลี่ย ( = 4.80, S.D = 0.45 , = 4.60, S.D.= 0.55, = 4.40, S.D.= 0.55) ตามลำดับ

2. รูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง

(EPPE Model) โดยใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 90.80/ 88.83 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้

3. หลังการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถ

ในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) นักเรียนมีความสามารถในการคิดขั้นสูง โดยภาพรวม อยู่ในระดับ

สูงมากและสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .01

4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์

เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) โดยใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูง (EPPE Model) ของนักเรียน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 4.42 และเมื่อพิจารณาเป็น

รายข้อ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยสูงสุดอันดับแรก คือ กิจกรรมการเรียนการสอนนี้ ทำให้นักเรียนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง รูปแบบการเรียนการสอนนี้น่าสนใจอยากเข้าร่วมกิจกรรมและนักเรียนได้ฝึกการสื่อความหมาย สื่อสารและนำเสนอโดยใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

โดยมีค่าเฉลี่ย ( = 5.00, S.D. = 0.00 , = 4.80 , S.D.= 0.45, = 4.60 ,S.D.= 0.55) ตามลำดับ

โพสต์โดย มยุรา สืบเพ็ง : [4 มิ.ย. 2560 เวลา 14:41 น.]
อ่าน [3911] ไอพี : 182.232.28.73
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 21,762 ครั้ง
สื่ออังกฤษเผย 11 สิ่งที่คุณควรลบออกจากเฟซบุ๊ก
สื่ออังกฤษเผย 11 สิ่งที่คุณควรลบออกจากเฟซบุ๊ก

เปิดอ่าน 123,890 ครั้ง
ลายมือที่มี กากบาทแห่งความสำเร็จ
ลายมือที่มี กากบาทแห่งความสำเร็จ

เปิดอ่าน 37,411 ครั้ง
การวิ่งเพื่อสุขภาพ (สุขศึกษา)
การวิ่งเพื่อสุขภาพ (สุขศึกษา)

เปิดอ่าน 21,413 ครั้ง
ใกล้จะสอบแล้ว ทำความคุ้นเคยกับกระดาษคำตอบ O-NET ม.3 กันหรือยัง?
ใกล้จะสอบแล้ว ทำความคุ้นเคยกับกระดาษคำตอบ O-NET ม.3 กันหรือยัง?

เปิดอ่าน 15,781 ครั้ง
5 ทางเลือกเรียนภาษาอังกฤษด้วยตัวเองแบบ New-Normal
5 ทางเลือกเรียนภาษาอังกฤษด้วยตัวเองแบบ New-Normal

เปิดอ่าน 16,626 ครั้ง
TEPE Online มีอะไรดีๆ เยอนะ รู้จักกันหรือยัง?
TEPE Online มีอะไรดีๆ เยอนะ รู้จักกันหรือยัง?

เปิดอ่าน 41,435 ครั้ง
ฟังก์ชันของ exponential
ฟังก์ชันของ exponential

เปิดอ่าน 13,331 ครั้ง
ลูกเรามีความคิดสร้างสรรค์แค่ไหน
ลูกเรามีความคิดสร้างสรรค์แค่ไหน

เปิดอ่าน 16,173 ครั้ง
พระประวัติ  สมเด็จพระญาณสังวร  สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
พระประวัติ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

เปิดอ่าน 18,729 ครั้ง
VTR การพัฒนาครูในรูปแบบใหม่ โดยการใช้การพัฒนาอย่างครบวงจร
VTR การพัฒนาครูในรูปแบบใหม่ โดยการใช้การพัฒนาอย่างครบวงจร

เปิดอ่าน 9,596 ครั้ง
ไอ้หยา!ด.ญ.ร้องพิธีเปิดโอลิมปิกก็ลวง
ไอ้หยา!ด.ญ.ร้องพิธีเปิดโอลิมปิกก็ลวง

เปิดอ่าน 13,955 ครั้ง
4 ปัญหายอดฮิต เมื่อสอบติดมหา’ลัย
4 ปัญหายอดฮิต เมื่อสอบติดมหา’ลัย

เปิดอ่าน 128,859 ครั้ง
องค์ประกอบของระบบ
องค์ประกอบของระบบ

เปิดอ่าน 10,433 ครั้ง
จดหมายฉบับที่ 55 ถึงนายกรัฐมนตรี+รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หยุดใช้ผลการสอบ O-NET ผิดทาง
จดหมายฉบับที่ 55 ถึงนายกรัฐมนตรี+รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หยุดใช้ผลการสอบ O-NET ผิดทาง

เปิดอ่าน 1,585 ครั้ง
กรมอนามัย เผยไข่ต้มคลุกน้ำปลาสารอาหารไม่พอ เด็กวัยเรียนควรกินไข่คู่กับอาหารให้ครบหมู่หลากหลาย
กรมอนามัย เผยไข่ต้มคลุกน้ำปลาสารอาหารไม่พอ เด็กวัยเรียนควรกินไข่คู่กับอาหารให้ครบหมู่หลากหลาย

เปิดอ่าน 9,633 ครั้ง
ชื่นชมลูก ช่วยพัฒนา
ชื่นชมลูก ช่วยพัฒนา
เปิดอ่าน 32,190 ครั้ง
ดาวน์โหลด! นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)
ดาวน์โหลด! นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)
เปิดอ่าน 27,226 ครั้ง
เรื่องของเลขศูนย์
เรื่องของเลขศูนย์
เปิดอ่าน 3,204 ครั้ง
กระทรวงศึกษาธิการ ปลดล็อคการศึกษาไทย พลิกฟื้นวิกฤติด้วยนโยบาย "ซ่อม สร้าง ป้องกัน"
กระทรวงศึกษาธิการ ปลดล็อคการศึกษาไทย พลิกฟื้นวิกฤติด้วยนโยบาย "ซ่อม สร้าง ป้องกัน"
เปิดอ่าน 20,488 ครั้ง
"ลัดดา แทมมี่ ดัคเวิร์ธ" ส.ส.หญิงเชื้อสายไทยคนแรกเข้าสภาคองเกรส
"ลัดดา แทมมี่ ดัคเวิร์ธ" ส.ส.หญิงเชื้อสายไทยคนแรกเข้าสภาคองเกรส

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ