ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียนหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้วิจัย กานต์สิรี ชูทอง
ปีที่ศึกษา 2562
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) เพื่อร่าง
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การท าขนม
ไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3) เพื่อ
ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การ
ท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาค
เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเทศบาล 1(สังขวิทย์) ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random
Sampling) โดยสุ่มห้องเรียนมาจ านวน 1 ห้องเรียน คือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 นักเรียนจ านวน 31 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบ
ประเมิน พฤติกรรมนักเรียนที่แสดงออกบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแบบสอบถามความพึง
พอใจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test (dependent) และการ
วิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในการจัดการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ควรเร่งพัฒนาความรู้นักเรียน โดยน าหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มุ่งความพอประมาณกับศักยภาพของผู้เรียน พอประมาณ
กับภูมิสังคมของโรงเรียนและชุมชนที่ตั้ง ฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็นท าเป็นอย่างมีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันในด้านต่างๆ
โดยการด าเนินกิจการต้องน าไปสู่ความยั่งยืนของผล โดยที่ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง น าไปเผยแพร่สู่ครอบครัว และชุมชน
2. ผลการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เรื่อง การท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ (PPCC Model) ประกอบด้วย 1) การวางแผน (Planning) 2) ขั้นน าเสนอ
3
(Presentation) 3) ขั้นกิจกรรมกลุ่ม (Cooperative Learning) 4) ขั้นสรุปและประเมินผล (Conclusion
and Assessment)
3. การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เรื่อง การท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 การทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ได้ค่าประสิทธิภาพ 83.18/83.87
4. การประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอดบทเรียน หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
1) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนพบว่ามีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
เท่ากับ 10.84 และหลังเรียนเท่ากับ 25.16 และเมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่ามีความ
แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2) การประเมินพฤติกรรมนักเรียนที่แสดงออกบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใน
ภาพรวม อยู่ในระดับมาก
3) การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อถอด
บทเรียนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การท าขนมไทยในเทศกาลและงานมงคล กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาพรวมอยู่ในระดับมาก