Advertisement
Advertisement
การบวกเมตริก โดย นางนพภา คุณวาสี
เมตริกสองเมตริกที่เป็นเมตริกแบบเดียวกันซึ่งมีจำนวนแถวเท่ากันคือ m และจำนวนสดมภ์เท่ากันคือ n จะบวกเข้าด้วยกันได้ และได้ผลบวกเป็นเมตริกที่มี m แถว และ n สดมภ์เช่นเดียวกัน กล่าวคือ
ถ้า A = (aij)m x n
B = (bij)m x n
จะได้ว่า A + B = C = (cij)m x n
โดย cij = aij + bij
ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนจากตัวอย่างต่อไปนี้
ถ้า A = (0 1 2)
5 2 -3
และ B = (1 1 -2)
4 0 0
จะหาเมตริกผลบวก A + B ได้โดย
A + B = ( 0 + 1 1 + 1 2 + (-2) )
5 + 4 2 + 0 -3 + 0
= ( 1 2 0 )
9 2 -3
การบวกเมตริกมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับคุณสมบัติของการบวกจำนวน กล่าวคือ ถ้า A,B,C เป็นเมตริก m x n จะได้ว่า
( 1 ) A + B = B + A กฎการสลับที่
( 2 ) ( A + B ) + C = A + ( B + C ) กฎการจัดหมู่
( 3 ) ถ้า Z เป็นเมตริกศูนย์ m x n จะได้ว่า
Z + A = A + Z = A
เมตริกศูนย์เป็นเอกลักษณ์สำหรับการบวกเมตริก อาจจะใช้ 0 แทนเมตริกศูนย์ก็ได้
|
|
Advertisement
|
เปิดอ่าน 125,184 ครั้ง |
เปิดอ่าน 33,376 ครั้ง |
เปิดอ่าน 14,946 ครั้ง |
เปิดอ่าน 28,031 ครั้ง |
เปิดอ่าน 39,258 ครั้ง |
เปิดอ่าน 17,793 ครั้ง |
เปิดอ่าน 25,295 ครั้ง |
เปิดอ่าน 954 ครั้ง |
เปิดอ่าน 14,721 ครั้ง |
เปิดอ่าน 20,557 ครั้ง |
เปิดอ่าน 44,312 ครั้ง |
เปิดอ่าน 38,993 ครั้ง |
เปิดอ่าน 22,475 ครั้ง |
เปิดอ่าน 22,759 ครั้ง |
เปิดอ่าน 25,086 ครั้ง | |
|

เปิดอ่าน 28,692 ☕ คลิกอ่านเลย |

เปิดอ่าน 195,664 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 32,064 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 39,923 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 35,355 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 112,952 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 50,818 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡ 
เปิดอ่าน 172,929 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 8,262 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 8,606 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 9,291 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 8,048 ครั้ง |
|
|