Advertisement
Advertisement
อุณหภูมิเป็นสารประกอบสำคัญยิ่งอันหนึ่งในวิชาอุตุนิยมวิทยา นักอุตุนิยมวิทยาต้องการทราบอุณหภูมิของอากาศตามระดับต่างๆ ตั้งแต่ผิวพื้นโลกขึ้นไปยังระดับสูงถึง ๒๐ กิโลเมตรหรือสูงกว่านั้น การวัดอุณหภูมิที่พื้นโลกอาจจะกระทำได้หลายวิธีด้วยกันวิธีที่ปฏิบัติกันมากที่สุดคือการใช้เทอร์มอมิเตอร์ ซึ่งมีของเหลว เช่น ปรอทบรรจุในหลอดแก้วคล้ายๆกับการวัดอุณหภูมิอย่างอื่นๆ
บางครั้ง เมื่อต้องการทราบผลการบันทึกอุณหภูมิตลอดชั่วโมง หรือตลอดวันหรือนานกว่านั้นเราก็ต้องใช้เครื่องบันทึกอุณหภูมิได้โดยอัตโนมัติ ซึ่งเรียกว่า "เทอร์มอกราฟ" (thermograph)
นอกจากการตรวจอุณหภูมิดังกล่าวแล้ว นักอุตุนิยมวิทยายังต้องการทราบว่าในวันหนึ่งๆ อุณหภูมิของอากาศจะร้อนสูงสุดและเย็นต่ำสุดเท่าใด ในการนี้เราใช้เทอร์มอมิเตอร์สูงสุด (maximum thermometer) และเทอร์มอมิเตอร์ต่ำสุด (minimum thermometer) สำหรับตรวจค่าอุณหภูมิที่เราต้องการได้
เราอาจเปลี่ยนจากมาตราหนึ่งไปอีกมาตราหนึ่งได้ โดยสูตรต่อไปนี้
(๑) ๙
๕ (...°ซ.) + ๓๒ = .......°ฟ.
ตัวอย่าง ให้เปลี่ยน ๓๐ °ซ.เป็นองศาฟาเรนไฮต์
๙
๕ (๓๐) + ๓๒ = ๕๔ + ๓๒
= ๘๖ °ฟ.
(๒) ๕
๙ (...°ฟ.) - ๓๒ = .......°ซ.
ตัวอย่าง ให้เปลี่ยน ๕๙ °ฟ.เป็นองศาเซลเซียส
๕
๙ (๕๙-๓๒) = ๕
๙ (๒๗)
= ๑๕ °ซ.
ขอบคุณที่มา สนุกดอทคอม
Advertisement
|
เปิดอ่าน 35,138 ครั้ง |
เปิดอ่าน 57,407 ครั้ง |
เปิดอ่าน 92,395 ครั้ง |
เปิดอ่าน 27,482 ครั้ง |
เปิดอ่าน 55,828 ครั้ง |
เปิดอ่าน 36,884 ครั้ง |
เปิดอ่าน 14,874 ครั้ง |
เปิดอ่าน 42,659 ครั้ง |
เปิดอ่าน 14,419 ครั้ง |
เปิดอ่าน 16,525 ครั้ง |
เปิดอ่าน 16,695 ครั้ง |
เปิดอ่าน 11,298 ครั้ง |
เปิดอ่าน 23,050 ครั้ง |
เปิดอ่าน 19,474 ครั้ง |
เปิดอ่าน 24,703 ครั้ง | |
|

เปิดอ่าน 33,997 ☕ คลิกอ่านเลย |

เปิดอ่าน 12,020 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 83,549 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 16,464 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 25,283 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 14,595 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 53,814 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡ 
เปิดอ่าน 16,289 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 14,262 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 13,925 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 14,018 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 8,589 ครั้ง |
|
|