Advertisement
ดวงอาทิตย์เป็นกลุ้มก้อนก๊าซที่มีขนาดมหึมาในระบบสุริยะจักรวาลของเรา ในใจกลางของกลุ้มก้อนก๊าซก้อนนี้มีอุณหภูมิสูงประมาณ 13,000,000 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นผลมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ทำให้ก๊าซไฮโดรเจนเปลี่ยนไปเป็นก๊าซฮีเลียมในระหว่างที่เกิดปฏิกิริยานี้อยู่ พลังนิวเคลียร์ส่วนหนึ่งก็ถูกปล่อยออกมาซึ่งมีบางส่วนที่มาถึงโลกของเรา ในรูปของแสงและความร้อนเราเรียกว่า แสงอาทิตย์
หากโลกของเราปราศจากแสงอาทิตย์แล้ว สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลกนี้ก็ไม่อาจจะมีชีวิตดำรงอยู่ได้ เพราะสิ่งมีชีวิตอยู่ได้โดยอาศัยแสงอาทิตย์ จะเห็นว่ามนุษย์เราใช้พืชและสัตว์เป็นอาหาร ในขณะที่สัตว์กินพืชเป็นอาหารและพืชก็ใช้แสงอาทิตย์มาช่วยในการสังเคราะห์แสงต่ออีกทอดหนึ่งด้วย ดังนั้นจุดเริ่มต้นของชีวิตจึงมาจากแสงอาทิตย์
ความร้อนที่เราได้รับจากเชื้อเพลิงประเภทน้ำมันหรือถ่านหินก็ดี สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนแต่มีจุดกำเนิดมาจากแสงอาทิตย์ทั้งสิ้น เพราะถ่านหินก็คือซากของพืชในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และน้ำมันก็คือซากของสิ่งมีชีวิตที่หมักหมมกันมานับเป็นล้านๆ ปี นักวิทยาศาสตร์ได้คาดการณ์ว่าอีกประมาณ 1 ล้านปีข้างหน้า ดวงอาทิตย์จะดับ นั่นก็หมายความว่าอีก 1 ล้านปีข้างหน้า สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อยู่บนโลกย่อมดับสูญไปด้วย ซึ่งเมื่อถึงเวลานั้นมนุษย์คงจะต้องคิดค้นหาวิธีการเพิ่อความอยู่รอดของตนต่อไป
ข้อมูลจาก : ปัญหา 108 วิทยาศาสตร์
ตู้รองเท้า ตู้เก็บรองเท้าหลายชั้น เก็บของอเนกประสงค์ ตู้เก็บรองเท้า ชั้นวางรองเท้า สามารถรองรับรองเท้าประเภทต่างๆ ประหยัดจริงๆ
฿1,220 - ฿1,599https://s.shopee.co.th/9Um2dWP80A?share_channel_code=6
Advertisement
เปิดอ่าน 29,785 ครั้ง เปิดอ่าน 39,981 ครั้ง เปิดอ่าน 17,173 ครั้ง เปิดอ่าน 4,356 ครั้ง เปิดอ่าน 28,356 ครั้ง เปิดอ่าน 23,829 ครั้ง เปิดอ่าน 3,324 ครั้ง เปิดอ่าน 21,737 ครั้ง เปิดอ่าน 25,263 ครั้ง เปิดอ่าน 27,150 ครั้ง เปิดอ่าน 208,864 ครั้ง เปิดอ่าน 10,599 ครั้ง เปิดอ่าน 18,572 ครั้ง เปิดอ่าน 24,505 ครั้ง เปิดอ่าน 63,822 ครั้ง เปิดอ่าน 4,793 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 20,087 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 10,963 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 15,755 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 37,756 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 3,587 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 42,786 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 6,196 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 16,020 ครั้ง |
เปิดอ่าน 26,839 ครั้ง |
เปิดอ่าน 9,013 ครั้ง |
เปิดอ่าน 9,350 ครั้ง |
เปิดอ่าน 23,335 ครั้ง |
|
|