Advertisement
Advertisement
แสงสว่างจากหิ่งห้อย เกิดจากสารลูซิเฟอร์รินไปรวมกับออกซิเจนในอากาศ และมีสารอีกตัวหนึ่ง คือ สารลูซิเฟอเรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี ซึ่งสารทั้ง 2 ชนิดนี้ หิ่งห้อยจะเป็นตัวปล่อยออกมาโดยตรง แสงของหิ่งห้อยจะมีลักษณะวาบๆ ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะแสงสว่างจะขึ้นอยู่กับจังหวะการหายใจ จังหวะหายใจเข้าแสงจะติด และจังหวะหายใจออก แสงจะดับ แสงที่เกิดจากหิ่งห้อยจะมีปริมาณแสงสว่างที่น้อยมาก เพียง 1 ใน 1,000 จากเทียนไขธรรมดา เท่านั้นเอง โดยหิ่งห้อยทั้งตัวผู้และตัวเมีย จะใช้แสงของมันดึงดูดเพศตรงข้าม และบางครั้งก็ใช้ล่อเหยื่อ
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า แสงในตัวหิ่งห้อยมีได้ถึง 4 สี คือ สีเขียว สีเขียวแกมเหลือง เหลือง และสีส้ม ขึ้นอยู่กับสภาวะที่แตกต่างกัน
ขอขอบคุณข้อมูลจาก

Advertisement
|
เปิดอ่าน 13,765 ครั้ง |
เปิดอ่าน 11,271 ครั้ง |
เปิดอ่าน 12,991 ครั้ง |
เปิดอ่าน 27,160 ครั้ง |
เปิดอ่าน 8,432 ครั้ง |
เปิดอ่าน 19,946 ครั้ง |
เปิดอ่าน 17,849 ครั้ง |
เปิดอ่าน 9,480 ครั้ง |
เปิดอ่าน 8,972 ครั้ง |
เปิดอ่าน 31,067 ครั้ง |
เปิดอ่าน 16,629 ครั้ง |
เปิดอ่าน 10,609 ครั้ง |
เปิดอ่าน 11,168 ครั้ง |
เปิดอ่าน 11,493 ครั้ง |
เปิดอ่าน 7,992 ครั้ง | |
|

เปิดอ่าน 11,583 ☕ คลิกอ่านเลย |

เปิดอ่าน 18,079 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 18,208 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 8,370 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 12,422 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 18,427 ☕ คลิกอ่านเลย | 
เปิดอ่าน 23,352 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡ 
เปิดอ่าน 12,807 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 7,651 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 11,910 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 31,368 ครั้ง | 
เปิดอ่าน 10,007 ครั้ง |
|
|